พญาเต่าเรือน นั้นคือ เครื่องราง พระเครื่องในชนิดนึง ที่ เ ป็ น รู ป ข อ ง เ ต่ า ส ร้ า ง ขึ้ น เ ป็ น ตัว หรือทำ เป็นเหรียญ รูปเต่ามีอักขระยันต์คาถาบนตัวจึงดูขลัง
ค า ถ า บู ช า พ ญ า เ ต่ า เ รื อ น

ตั้ ง น ะ โ ม ฯ 3 จ บ ต า ม ด้ ว ย “น า สั ง สิ โ ม ”
ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ของพญาเต่ าเรื อน จึงทำให้พระเกจิอาจารย์หลายสำนักสร้างวัตถุมงคล พญาเ ต่ าเรือน ออกมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
เช่น หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว หลวงพ่อแป๊ะ วัดดอนผิงแดด หลวงปู่เลี้ยง วัดพานิชธรรมิการาม หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย หลวงปู่คำ วัดหนองแก หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก หลวงพ่อบุญเรือน วัดยาง หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม
และเกจิอาจารย์ผู้สร้างพญาเต่าเรือนมากที่สุดและได้รับความนิยมมากที่สุดได้แก่พญาเรือนของ หลวงปู่หลิว วัดไร่แตงทอง จ.นครปฐม
ตำ น า น พ ญ า เ ต่ า เ รื อ น
ของ พ ญ า เ ต่ า เรือน เมื่อครั้งอดีตอันไกลโพ้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าครั้นยังเป็นพระโพธิสัตว์ยังบำเพ็ญบารมี ได้เสวยพระชาติเป็นพญาเต่าเรือน หมายถึงเต่าที่มีขนาดใหญ่โต เท่าบ้านเรือน อาศัยอยู่บนเกาะร้างกลางมหาสมุทร
ในครั้งนั้นมีเรือสำเภาใหญ่ของพ่อค้าวาณิชได้อับปางลงกลางมหาสมุทร ผู้คนพากันหนีตายขึ้นไปอาศัยอยู่บนเกาะร้างแห่งนั้น ได้เกิดการอดอาหาร มีความหิวโหย ถึงขนาดบ้าคลั่งต้องฆ่าฟันกันเองเพื่อเอาเนื้อมาบริโภคเป็นอาหาร
พระโพธิสัตว์ พญาเต่าเรือน เห็นเหตุการณ์โดยตลอด ด้วยความสงสารจึงได้บำเพ็ญทานบารมีและเมตตาบารมีถึงขั้นสูงสุด คือ ปรมัตถบารมี คือสละชีพของตนเพื่อผู้อื่น ช่วยเหลือมนุษย์ให้มีชีวิตรอดอยู่ต่อไปโดยไม่ต้องฆ่าฟันกันเอง
พระโพธิสัตว์ พญ าเต่าเ รือ น จึงคลานขึ้นไปบนเนินเขาแล้วกลั้นใจกลิ้งทิ้งตัวลงมา เมื่อตกลงมาถึงตีนเขาก็ถึงกาลกิริยาแตกดับ ผู้คนเหล่านั้นได้อาศัยเนื้อพระโพธิสัตว์ พญาเต่าเรือน บริโภคเป็นอาหาร
แล้วเอากระดองทำเป็นพาหนะกลับสู่บ้านเมืองอย่างปลอดภัย ภายหลังผู้คนเหล่านั้นได้ระลึกนึกถึงบุญคุณของพญาเต่าเรือน จึงได้วาดภาพไว้สักการบูชาเพื่อความเป็นสิริมงคล และต่อมาจึงได้มีการสร้างเป็นวัตถุมงคล

รู ป เ ต่ า ล ง อั ก ข ร ะ เ ล ข ยั น ต์ ป ลุ ก เ ส ก ไ ว้ บู ช า สื บ ท อ ด ม า ถึ ง ปั จ จุ บั น